5 กลุ่ม กับวิธีการบำบัดความอ้วนให้อยู่ในเกณฑ์ดี
โรคอ้วนที่เป็นเป็น ๆ หายๆ หรือเป็นเรื้อรัง ถือว่าจำเป็นที่จะต้องรักษาไม่ต่างไปจากการเป็นโรคเบาหวานและความดันหรือโรคเรื้อรังอื่นซึ่งถือว่าต้องพบแพทย์เพื่อรักษาเช่นเดียวกันแต่ในความเข้าใจของคนทั่วไปในปัจจุบันนี้มักจะมองว่าความอ้วนไม่ใช่โรคที่ร้ายแรงอะไร ไม่มีอาการที่เด่นชัดอะไรมากมายใครๆก็อ้วนกันได้ นี่จึงไม่มีความจำเป็นที่จะต้องไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลเพียงเพราะความอ้วนของตัวเอง
วันนี้เราจึงได้ทำบทความนี้ขึ้นมาเพื่อตระหนักถึงผู้ที่มีภาวะน้ำหนักเกินหรือภาวะอ้วนลงพุงมาฝากกันแต่จะมีหัวข้ออะไรบ้าง และจะบำบัดโรคอ้วนด้วยสติได้อย่างไรบทความนี้มีคำตอบ
ดึงสติเพื่อบำบัดรักษาโรคอ้วน
แต่ก่อนที่เราจะเริ่มวางแผนสิ่งที่สำคัญต้องรู้ก่อนก็คือคุณอ้วนอยู่ในระดับไหน คนรอบข้างของคุณอ้วนอยู่ในระดับไหน และมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดมากน้อยแค่ไหน ซึ่งแน่นอนว่าข้อมูลแล้วเนี่ยจะต้องมาจากการประเมินของแพทย์ เพราะตัวเองคงไม่สามารถประเมินได้อย่างถูกวิธีและครบครัน ซึ่งข้อมูลที่ได้นั้นจะเป็นแนวทางสำคัญสำหรับการบำบัดโรคอ้วนแต่ละบุคคลต่อไปนั่นเอง
การประเมินระดับความรุนแรงในโลกอ้วนปัจจุบันนิยมใช้เกณฑ์ของดัชนีมวลกาย หรือ body mass index รวมถึงภาวะหรือโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดความผิดปกติในอนาคตมากน้อยแค่ไหนลงในกลุ่มนี้ที่สำคัญก็ได้แก่โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจากเส้นเลือดอุดตัน โรคเส้นเลือดสมองตีบการบำบัดรักษาโรคอ้วนตามระดับความรุนแรงต่างๆนั้นยังมีความแตกต่างกันไป
จ่ายค่าดัชนีมวลกายที่แนะนำมาจัดระดับความรุนแรงของโรคอ้วนก็เพื่อวางแผนในการบำบัดนั้น ในแนวทางการบำบัดส่วนใหญ่จะใช้ค่าดัชนีมวลกายที่เป็นของชาวตะวันตก ที่ถือว่าตามเกณฑ์องค์กรอนามัยโลกซึ่งถือว่าไม่เท่ากันกับค่าดัชนีมวลกายที่แนะนำให้ใช้ในคนไทยหรือคนในเอเชีย ซึ่งตนเองก็สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตามพิจารณาที่เหมาะสมจากผู้เชี่ยวชาญได้
ค่าดัชนีมวลกายตามเกณฑ์ของชาวตะวันตก
น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ น้อยกว่า 18.5
น้ำหนักปกติ มากกว่าหรือเท่ากับ 18.5-24.9
น้ำหนักเกินเกณฑ์ มากกว่าหรือเท่ากับ 25.00 ถึง 29.9
ภาวะเริ่มอ้วน มากกว่าหรือเท่ากับ 30
ภาวะเริ่มอ้วนระดับ1 30.0ถึง 34.9ฝ
ภาวะเริ่มอ้วนระดับ2 39.0 ถึง 39.9
ภาวะเริ่มอ้วนระดับ3 มากกว่าหรือเท่ากับ 40
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในภาวะโลกที่อาจนำมาพิจารณาร่วมกับค่าดัชนีมวลกายในการในการจัดระดับความรุนแรงของโรคอ้วนมีดังนี้
ความดันโลหิตสูง, เบาหวาน, ไขมันในเลือดสูง, ไขมันพอกตับ, ภาวะหยุดหายใจขณะนอน, ข้อเข่าเสื่อมและ
กลุ่มอาการรังไข่มีถุงน้ำหลายใบ
ข้อมูลเหล่านี้ที่นำเอามาพิจารณาเพื่อจัดระดับความรุนแรงของโรคอ้วนนั้นได้ว่าจากการซักถามประวัติ ตรวจร่างกายโดยแพทย์และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจพิเศษ เช่นเอกซเรย์ทรวงอก การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ อัลตร้าซาวด์ช่องท้อง หรือตอนวิเคราะห์องค์ประกอบของร่างกายที่เป็นไขมันและกล้ามเนื้อ ด้วยเครื่องตัว DXA ภายหลังเมื่อคุณทราบว่าใครอยู่ในกลุ่มเสี่ยงชนิดไหนซึ่งแต่ละกลุ่มจะมีแนวทางกันบำบัดรักษาที่แตกต่างกันออกไปดังนี้
- กลุ่มที่ไม่มีความเสี่ยงหรือมีภาวะเสี่ยงน้อยเป็นกลุ่มที่ยังไม่อ้วนหรือมีเส้นรอบวงเอวไม่เกินและยังไม่พบความผิดปกติอะไรที่เป็นภาวะหรือโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยง แต่ก็ยังคงต้องควบคุมการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การนอนหลับพักผ่อน แนะการบริหารจัดการกับความเครียด ความวิตกกังวล ความคิด
- กลุ่มที่มีความเสี่ยงน้อย
คนที่มีภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ แล้วยังไม่พบความผิดปกติอะไร ที่เป็นภาวะโลกที่ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค จากการตรวจร่างกาย จากการตรวจร่างกายเช่น การตรวจเลือด ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ เขาอยู่ในกลุ่มเสี่ยงก็จะต้องดูแลตัวเองเพื่อไม่ให้น้ำหนักเพิ่มขึ้นกว่านี้และต้องลดน้ำหนักให้ลงมาสู่ช่วงปกติให้ได้ โดยเริ่มจากการขอคำแนะนำจากแพทย์ นักโภชนาการ นักกำหนดอาหารเกี่ยวกับแนวทางการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง การออกกำลังกาย และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่างๆเพื่อลดน้ำหนักให้อยู่ในกลุ่มที่มีสุขภาพดี
3.ความเสี่ยงปานกลาง
กลุ่มนี้จะได้แก่ผู้ที่มีน้ำหนักเกินตัวหรือภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์และพบความผิดปกติที่เป็นภาวะหรือโลกที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคตั้งแต่ 1 ข้อ เช่นโรคเบาหวาน ความดัน ไขมันในเลือดสูง ภาวะไขมันพอกตับ หรือภาวะหยุดหายใจขณะหลับ ละครที่มีภาวะที่อยู่ในเกณฑ์อ้วนระดับหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นต่างชาติหรือคนเอเชียรวมถึงคนไทย
ที่อยู่ในเกณฑ์ระดับเสี่ยงปานกลางก็จะต้องวางแผนเพื่อลดน้ำหนักให้ได้ โดยเน้นที่การลดไขมันในร่างกายและสร้างมวลกล้ามเนื้อให้เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 10 ถึง 15 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักเดิม เริ่มต้นจากการเข้ารับคำแนะนำจากแพทย์ นักโภชนาการ การออกกำลังกาย การบำบัดเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร รายการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดน้ำหนักแบบสุขภาพดีเช่นเดียวกับข้อที่ 2 ในบางกรณีที่พยายามปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมานานแล้วส่วนมากพิจารณาจากระยะเวลา 6 เดือนหรือครึ่งปี ก็ยังไม่สามารถลดน้ำหนักได้ สืบเนื่องมาจากมีข้อจำกัดในด้านต่างๆ แทนอาจจะพิจารณาให้ยาลดน้ำหนัก ตามความเหมาะสมร่วมด้วย ซึ่งการใช้ยาลดน้ำหนักนี้จะมีแพทย์เป็นผู้ดูแลอย่างใกล้ชิดและต้องได้รับความสมัครใจและร่วมมืออย่างดีจากผู้ประสบ
4 กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง
คนที่มีภาวะน้ำหนักที่อยู่ในเกณฑ์อ้วนไม่ว่าจะในต่างชาติหรือคนในเอเชียรวมทั้งคนไทยด้วย 1 คนที่มีภาวะน้ำหนักที่อยู่ในเกณฑ์อ้วนที่มีความผิดปกติเป็นภาวะโลกที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคการรักษาในกลุ่มนี้ต้องวางแผนเพื่อลดน้ำหนักให้ได้โดยประมาณ 10% ของน้ำหนักเดิมหรือมากกว่านั้นพอจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหรือลดความรุนแรงของโรคได้ การดูแลรักษาในกลุ่มนี้ควรมีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ดูแลอย่างใกล้ชิดซึ่งต้องอาศัยหลายๆวิธีร่วมกันเช่นการวางแผนด้านการรับประทาน มาร์คเป็นแบบจำกัดจำนวนแคลอรี่ต่อวันหรือที่เรียกว่าไดเอทสการออกกำลังกายที่ปรึกษาโดยบุคลากรทางการแพทย์ในสาขาต่างๆเช่นนักโภชนาการนักกำหนดอาหารนักกายภาพบำบัด
นอกจากนี้แล้วอาจจะบำบัดด้วยการรับประทานยาลดน้ำหนักหากแพทย์พิจารณาแล้วว่าเหมาะสมและผู้อโศกสมัครใจที่จะใช้ในกรณีที่ไม่สามารถลดน้ำหนักได้จากตามที่คาดหวัง ที่ทำมาได้ในระยะหนึ่งซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ระยะเวลาประเมินที่ 3-4 เดือน ก็สามารถพิจารณาบำบัดด้วยยาลดน้ำหนักได้
- กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงมาก
กลุ่มที่อ้วนไหนคนไทยหรือคนต่างชาติและคนที่มีน้ำหนักที่อยู่ในเกณฑ์อ้วนที่มีความผิดปกติเป็นภาวะหรือโรคที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหรือว่าเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้สูงมากเนื่องด้วยจากมวลไขมันที่เพิ่มมากในร่างกายและโรคอื่นๆที่เป็นอยู่ก่อนเช่นข้อเข่าเสื่อมภาวะหยุดหายใจขณะนอนภาวะไขมันพอกตับ ถือว่าพบบ่อยมากเกือบทุกคนที่อยู่ในกลุ่ม
การรักษาในกลุ่มนี้ต้องวางแผนอย่างจริงจังเพื่อลดน้ำหนักโดยมีแพทย์เป็นผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด เป้าหมายของการลดน้ำหนักคือประมาณ 20 ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักเดิมซึ่งต้องอาศัยหลายๆวิธีร่วมเช่น การวางแผนด้าน การรับประทาน การออกกำลังกาย และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่างๆเพื่อให้อยู่ในเกณฑ์สุขภาพดี รวมกับการดูแลและรับคำปรึกษาโดยบุคลากรทางการแพทย์สาขาอื่นๆเช่นนักโภชนาการนักกำหนดอาหารนักกายภาพ
ทั้งนี้คุณก็ทราบแล้วใช่ไหมเกี่ยวกับการจะบำบัดความอ้วนหรือภาวะลงพุงให้อยู่ในเกณฑ์ที่มีสุขภาพดีอย่างไร และแม้ว่าจะอยู่ในการดูแลของแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านต่าง ๆ สิ่งหนึ่งที่คุณต้องปรับเปลี่ยนตามนั้นก็คือ ความคิด ความอยาก ที่อาจจะยากไปหน่อยแต่เชื่อว่ายิ่งคุณอยู่ในเกณฑ์ดีเท่าไหร่ ความสุขของคุณก็จะมีมากขึ้น และอาจจะได้กลับไปรับประทานอย่างที่ชอบและร่วมกับการรักตัวเองเพิ่มมากขึ้นด้วย
อ้างอิงจาก: pixabay